พรีวิวโปรแกรมบอลฟุตบอลโลก 2022 : อังกฤษ พบ อิหร่าน (กลุ่มบี)
ฐานทัพสหรัฐฯ ใกล้เมือง Kirkuk ประเทศอิรัก ถูกโจมตีด้วยจรวดขีปนาวุธกว่า 30 ลูก เป็นเหตุให้พลเมืองสหรัฐฯ 1 คน ที่ทำงานในฐานทัพดังกล่าวเสียชีวิต โดยการโจมตีในครั้งนี้ สหรัฐฯ สรุปว่าเป็นฝีมือของกลุ่มคาตาอิบ ฮิซบอลเลาะห์ (Kataib Hezballah) กองกำลังติดอาวุธในอิรักที่หน่วยรบพิเศษคุดส์ของอิหร่านให้การสนับสนุน 20. สหรัฐฯ ทำการตอบโต้การโจมตีครั้งนี้ทันที โดยในวันอาทิตย์ที่ 29 ธ. สหรัฐฯ ได้ใช้ขีปนาวุธทำลายฐานที่มั่นของกลุ่มคาตาอิบ ฮิซบอลเลาะห์ 3 แห่งในอิรัก และอีก 2 แห่งในซีเรีย เป็นเหตุให้กองกำลังของกลุ่มก่อการร้ายดังกล่าว 25 คนเสียชีวิต และอีก 51 คนบาดเจ็บ จากเหตุการณ์นี้ อาบู มาห์ดี อัล-มูฮันดิส (Abu Mahdi al-Muhandis) ผู้นำของกลุ่มคาตาอิบ ฮิซบอลเลาะห์ ได้ประกาศกร้าวว่า “เลือดของผู้พลีชีพครั้งนี้จะไม่สูญเปล่า” และ “เราจะตอบโต้ทหารอเมริกันในอิรักอย่างหนักให้สาสม” 21. การโจมตีฐานที่มั่นของกลุ่มคาตาอิบ ฮิซบอลเลาะห์ ของสหรัฐฯ ครั้งนี้ ทำให้ชาวอิรักจำนวนมากไม่พอใจ และฝูงชนชาวอิรักได้รวมตัวกันบุกเข้าไปในสถานทูตสหรัฐฯ ที่กรุงแบกแดด เมืองหลวงของอิรัก ในวันอังคารที่ 31 ธ.
สรุป สหรัฐฯ VS อิหร่าน แบบเข้าใจง่ายขบวนรถยนต์ของ นายพลกาเซม โซเลมานี (Qasem Soleimani) นายทหารคนสำคัญของอิหร่าน ขณะกำลังเดินทางออกจากสนามบินในกรุงแบกแดด เมืองหลวงของอิรัก ส่งผลให้นายพลโซเลมานีเสียชีวิตทันที นี่ไม่ใช่การโจมตีทางการทหารธรรมดาๆ เพราะเป้าหมายในครั้งนี้ คือนายพลผู้ทรงอิทธิพลที่สุด และถือเป็นผู้ที่มีอำนาจสูงสุดอันดับ 2 ของอิหร่าน เป็นรองแค่ อาลี คาเมเนอี (Ali Khamenei) ผู้นำสูงสุดเท่านี้ การโจมตีที่ทำให้โลกต้องตกตะลึงครั้งนี้มีที่มาอย่างไร อิหร่านและพันธมิตรในตะวันออกกลางจะตอบโต้สหรัฐฯ แบบไหน ความขัดแย้งครั้งนี้จะนำไปสู่สงครามเต็มรูปแบบระหว่างสหรัฐฯ และอิหร่านหรือไม่ รวมถึงคำถามที่หลายคนสงสัย ว่าเหตุการณ์ครั้งนี้จะเป็นชนวนไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 3 ได้หรือไม่ ทีมข่าวเวิร์คพอยท์มีคำตอบให้ใน 28 ข้อ 1.
ปี 2019 เป็นต้นมา ในสายตาของสหรัฐฯ แล้ว หน่วยรบพิเศษคุดส์ของอิหร่าน ที่มีนายพลโซเลมานีเป็นผู้นำ มีสถานะไม่ต่างอะไรจากกลุ่มก่อการร้ายอื่นๆ อย่าง อัลกออิดะห์ เฮซบอลเลาะห์ และ ISIS 8. อย่างไรก็ตาม ความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฯ และอิหร่าน ที่นำมาสู่การสังหารนายพลโซเลมานีในครั้งนี้ ได้ไม่เพิ่งเริ่มต้นขึ้นเมื่อหนึ่งปีก่อนเมื่อสหรัฐฯ ประกาศให้ IRGC เป็นองค์กรก่อการร้าย ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นเมื่ออิหร่านมีส่วนในการตายของทหารอเมริกันในอิรักในปี 2003 แต่เป็นความขัดแย้งที่มีรากยาวนานเกือบ 70 ปี นับตั้งแต่สหรัฐฯ เข้าไปมีส่วนในการวางแผนรัฐประหารนายกฯ ของอิหร่านในทศวรรษ 1950 9.
ย. ปี 2019 ที่ผ่านมานี้เอง กระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐฯ ได้ประกาศให้ กองกำลังป้องกันการปฏิวัติอิสลามของอิหร่าน (Islamic Revolutionary Guard Corps: IRGC) ซึ่งเป็นหน่วยงานแม่ของหน่วยรบพิเศษคุดส์ เป็น “กลุ่มก่อการร้าย” อย่างเป็นทางการ โดยให้เหตุผลกว่า IRGC ทำให้ทหารอเมริกันในอิรักเสียชีวิตไปแล้วอย่างน้อย 603 คนนับตั้งแต่ปี 2003 อีกทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการวางแผนก่อการร้ายต่างๆ ทั่วตะวันออกกลางซึ่งเป็นเหตุให้พลเมืองสหรัฐฯ ต้องเสียชีวิต นอกจากนั้น ยังระบุด้วยว่า IRGC ได้เคยวางแผนการก่อการร้ายที่จะสังหารทูตของซาอุดิอาระเบียประจำสหรัฐฯ บนแผ่นดินของสหรัฐฯ เอง เพียงแต่ว่าแผนการดังกล่าวถูกสกัดกั้นไว้ได้ก่อน นั่นเท่ากับว่านับตั้งแต่เดือน เม.
67% ซึ่งสามารถนำไปใช้ในโรงไฟฟ้าได้เท่านั้น (การผลิตหัวรบนิวเคลียร์ ต้องใช้ยูเรเนียมที่มีความบริสุทธิ์ 90% ขึ้นไป) โดยแลกกับการที่ 6 ประเทศมหาอำนาจ รวมถึงสหภาพยุโรป ยกเลิกการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่ออิหร่าน หลังจากข้อตกลงนิวเคลียร์ดังกล่าวเริ่มบังคับใช้ในเดือน ม. ค. 2016 อิหร่านสามารถเข้าถึงทรัพย์สินในต่างประเทศมูลค่ากว่า 100, 000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่ถูกอายัดไว้ก่อนนี้ได้ รวมถึงสามารถขายน้ำมันในตลาดต่างประเทศ และใช้ระบบการเงินโลกในการค้าขายได้อีกครั้ง เรียกได้ว่า เป็นดีลที่ วิน-วิน สำหรับทั้งอิหร่านที่ต้องการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ และประชาคมโลกที่ต้องการเห็นอิหร่านระงับการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ 18.
แต่ข้อตกลงนิวเคลียร์ดังกล่าวนี้ก็อยู่ได้ไม่นาน เมื่อในเดือน พ. 2018 ประธานาธิบดีทรัมป์ของสหรัฐฯ ได้ประกาศถอนตัวออกจากข้อตกลงนิวเคลียร์ดังกล่าว โดยบอกว่า นี่เป็นดีลแย่ๆ ที่อิหร่านได้ประโยชน์อยู่ฝ่ายเดียว เป็นข้อตกลงที่ไม่ควรมีการเซ็นกันแต่ต้น อีกทั้งยังเป็นข้อตกลงที่ไม่มีทางนำความสุขสงบมาได้เลย นับแต่นั้นความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และอิหร่าน ก็มีแต่ดิ่งเหวลง และการที่สหรัฐฯ ประกาศให้ กองกำลังป้องกันการปฏิวัติอิสลามของอิหร่าน (Islamic Revolutionary Guard Corps: IRGC) เป็นองค์กรก่อการร้ายช่วงกลางปี 2019 ก็เหมือนเป็นอีกหนึ่งเชื้อเพลิง ที่พร้อมจะโหมให้ไฟความขัดแย้งระหว่าง 2 ประเทศลุกโชนขึ้นได้อีก 19. ความระหองระแหงระหว่างอิหร่านและสหรัฐฯ ในยุคประธานาธบดีทรัมป์ มาถึงจุดแตกหักจากเหตุการณ์เมื่อปลายเดือน ธ. 2019 โดยในวันศุกร์ที่ 27 ธ.
ในยุคประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช ของสหรัฐฯ ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ประเทศดำดิ่งถึงจุดต่ำสุด เมื่อในปี 2002 ประธานาธิบดีบุชประณามว่าอิหร่านเป็นหนึ่งในประเทศ “แกนแห่งความชั่วร้าย” (Axe of evil) ร่วมกับอิรักและเกาหลีเหนือ โดยสาเหตุหลักมาจากการที่อิหร่านเดินหน้าพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์อย่างเต็มตัว 15. จนในที่สุดในปี 2006 อิหร่านถูกนานาชาติคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจอย่างหนัก หลังจากที่ยังไม่หยุดโครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์และการสะสมแร่ยูเรเนียมที่ใช้ในหัวรบนิวเคลียร์ การคว่ำบาตรระลอกนี้ทำให้เงินลงทุนจากต่างชาติที่ลงไปสู่อิหร่านหยุดชะงัก การส่งออกน้ำมันของอิหร่านออกไปขายในหลายประเทศถูกตัดขาด รวมถึงเงินฝากและเงินลงทุนที่อิหร่านมีในหลายประเทศ ก็ถูกอายัดไว้ชั่วคราวด้วย เรียกได้ว่าการคว่ำบาตรระลอกนี้ทำให้เศรษฐกิจของอิหร่านเสียหายอย่างหนัก 16.
1979 นักศึกษาหัวรุ่นแรงกลุ่มหนึ่งได้บุกเข้าไปในสถานทูตสหรัฐฯ ในกรุงเตหะราน เมืองหลวงของอิหร่าน และจับตัวประกันชาวอเมริกันจำนวน 52 คน ไว้นาน 444 วัน เหตุการณ์ดังกล่าวนี้รู้จักกันในชื่อ “วิกฤติตัวประกันอิหร่าน” (Iran hostage crisis) และยิ่งทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และอิหร่าน ยิ่งแย่ลง หลังเหตุการณ์ดังกล่าว สหรัฐฯ ได้เริ่มมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่ออิหร่านเป็นครั้งแรก 13. ความสัมพันธ์ของสหรัฐฯ และอิหร่าน ยิ่งแย่ลงไปอีกในปี 1988 เมื่อเรือรบของสหรัฐฯ ยิงเครื่องบินโดยสารพลเรือนของอิหร่านแอร์ตกบริเวณช่องแคบฮอร์มุซ (Strait of Hormuz) เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต 290 คน โดยส่วนใหญ่เป็นผู้แสวงบุญที่จะเดินทางไปยังนครเมกกะ สถานที่ศักดิ์สิทธิของชาวมุสลิม โดยสหรัฐฯ ระบุแต่เพียงว่าเป็นความผิดพลาด คิดว่าเครื่องบินลำดังกล่าวคือเครื่องบินรบ อีกทั้งยังไม่เคยขอโทษต่อเหตุการณ์ดังกล่าว 14.
แต่ย้อนกลับไปในวัยเด็ก โซเลมานีไม่ได้มีชีวิตที่สุขสบาย เขาเกิดในครอบครัวที่ยากจน และไม่ได้รับการศึกษาทางการที่สูงนัก ในวัย 13 ปี เขาต้องทำงานหนักเพื่อจ่ายคืนหนี้ ที่ผู้เป็นพ่อสร้างไว้และไม่สามารถจ่ายคืนเองได้ 4. แต่ชีวิตของเขาก็พบจุดเปลี่ยน เมื่อเกิดสงครามระหว่าง อิหร่าน-อิรัก ขึ้นในทศวรรษ 1980 โซเลมานีเข้าร่วมสงครามในฐานะพลทหารธรรมดา แต่ความสามารถด้านกลยุทธ์และการทหาร ทำให้ภารกิจที่เขาได้รับมอบหมายในสงครามครั้งนั้นพบแต่ความสำเร็จ เมื่อบวกกับความโด่ดเด่นด้านความเป็นผู้นำ ทำให้เมื่อสงครามจบในอีก 8 ปีต่อมา โซเลมานีกลายเป็นหนึ่งในฮีโร่สงครามสำหรับชาวอิหร่าน และเป็นหนึ่งในนายทหารอายุน้อยที่โด่ดเด่นที่สุดคนหนึ่ง 5. 10 ปีต่อมา ในปี 1998 โซเลมานีได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการของหน่วยรบพิเศษคุดส์ (Quds Force) ซึ่งถือเป็นหน่วยหนึ่งของ กองกำลังป้องกันการปฏิวัติอิสลามของอิหร่าน (Islamic Revolutionary Guard Corps: IRGC) ที่ปัจจุบันมีกองกำลังอยู่กว่า 150, 000 คน ทั้งกองกำลังทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ หน่วยรบพิเศษคุดส์มีหน้าที่สำคัญ ในการขยายอิทธิพลของอิหร่านไปทั่วตะวันออกกลาง โดยปฏิบัติการของหน่วยรบพิเศษคุดส์ มีตั้งแต่การจัดหาอาวุธให้พันธมิตรและสร้างเครือข่ายกองกำลังติดอาวุธที่ภักดีต่ออิหร่าน, ช่วยเหลือกองกำลังมุสลิมชีอะห์และชาวเคิร์ดต่อสู้กับซัดดัม ฮุสเซน ในอิรัก, เป็นผู้วางกลยุทธ์ให้ บาชาร์ อัล-อัสซาด (Bashar al-Assad) ในสงครามกลางเมืองซีเรีย จนสามารถยึดพื้นที่คืนจากกลุ่มกบฏได้, รวมถึงในเลบานอนและปาเลสไตน์ ที่หน่วยรบพิเศษคุดส์เข้าไปช่วยเหลือและจัดหาอาวุธให้ทั้งกลุ่มเฮซบอลเลาะห์ (Hezbollah) ในเลบาบอน และกลุ่มฮามาส (Hamas) ในปาเลสไตน์ จะเห็นได้ว่าภายใต้การนำของนายพลโซเลมานี หน่วยรบพิเศษคุดส์ของอิหร่านได้เข้าไปมีบทบาทอย่างสูงในการเมืองและความขัดแย้งของหลายประเทศในตะวันออกกลาง รวมถึงได้สร้างและสนับสนุนเครือข่ายกองกำลังติดอาวุธที่เป็นพันธมิตรกับอิหร่านขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน อิรัก ซีเรีย และเลบานอน 6.
ที่ผ่านมา ภายหลังเหตุการณ์ ประธานาธบดีทรัมป์ได้ทวีตข้อความว่า อิหร่านจะต้อง “ชดใช้อย่างสาสม” (will pay a very big price) กับสิ่งที่ทำลงไป ในขณะเดียวกัน อาลี คาเมเนอี ผู้นำสูงสุดของอิหร่านก็ได้ออกมาตอบโต้ว่า สหรัฐฯ “ไม่มีน้ำยาจะทำอะไรได้” (can’t do a damn thing) 22. จนในที่สุด เมื่อวันศุกร์ที่ 3 ม. ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯ ก็สั่งให้โดรนยิงขีปนาวุธสังหารนายพลกาเซม โซเลมานี ขณะกำลังเดินทางออกจากสนามบินในกรุงแบกแดด เมืองหลวงของอิรัก โดยนอกจากนายพลโซเลมานีแล้ว ยังมีผู้เสียชีวิตจากการโจมตีครั้งนี้อีก 6 คน โดยหนึ่งในนั้นคือ อาบู มาห์ดี อัล-มูฮันดิส ผู้นำของกลุ่มคาตาอิบ ฮิซบอลเลาะห์ 23.
อังกฤษ VS อิหร่าน : พรีวิว ฟุตบอลโลก 2022 - สสวท
ย้อนกลับไปในปี 1953 ในขณะนั้นอิหร่านมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งที่ชื่อ โมฮัมหมัด มอสซาเดก (Mohammad Mossaddegh) นายกฯ ของอิหร่านคนนี้ต้องการที่จะยึดสิทธิการผลิตน้ำมันในอิหร่านให้กลับมาเป็นของรัฐ ทำให้อังกฤษซึ่งในขณะนั้นควบคุมกิจการน้ำมันส่วนใหญ่ในอิหร่านไม่พอใจ และร่วมวางแผนกับสหรัฐฯ ในการรัฐประหารกำจัดนายมอสซาเดกออกจากรัฐบาล และแต่งตั้งพระเจ้าชาห์ หรือ โมฮัมหมัด เรซา ชาห์ (Mohammad Reza Shah) ขึ้นบริหารประเทศแทน 10. พระเจ้าชาห์ปกครองอิหร่านอยู่นานกว่า 25 ปี แต่ในที่สุดเสียงสนับสนุนของเขาจากประชาชนและชนชั้นนำด้วยกันก็เสื่อมถอยลงจากปัญหาหลายอย่าง จนในปี 1979 เกิดการประท้วงครั้งใหญ่ขึ้นในอิหร่านเพื่อขับไล่พระเจ้าชาห์ โดยในครั้งนั้นชาวอิหร่านกว่า 2 ล้านคนออกมาประท้วงบนท้องถนน ในที่สุดพระเจ้าชาห์ต้องลงจากตำแหน่ง และทำให้ อยาตอลเลาะห์ โคไมนี (Ayatollah Khomeini) ขึ้นมาเป็นผู้นำสูงสุดของอิหร่านแทน และนับจากนั้น ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศระหว่าง สหรัฐฯ และอิหร่าน ก็มีแต่แย่ลง ท่ามกลางความรู้สึกของชาวอิหร่านในขณะนั้น ที่รู้สึกไม่พอใจและต่อต้านชาวอเมริกันอย่างสูง 11.
อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างอิหร่านและสหรัฐฯ เริ่มดีขึ้นในยุคประธานาธิบดีโอบามา โดยในปี 2013 โอมาบาได้คุยทางโทรศัพท์กับ ฮัสซาน รูฮานี (Hassan Rouhani) ประธาธิบดีของอิหร่าน โดยถือเป็นครั้งแรกในรอบกว่า 30 ปี ที่ทั้งสองประเทศพูดคุยกันอย่างเป็นทางการ 17. ต่อมาในปี 2015 อิหร่านได้ทำ “ข้อตกลงนิวเคลียร์” กับประเทศมหาอำนาจ 6 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐฯ อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย จีน และเยอรมนี โดยอิหร่านจะยอมลดปริมาณการถือครองแร่ยูเรเนียมความบริสุทธิ์ต่ำลง 98% ทำลายสต็อคแร่ยูเรเนียมความเข้มข้นปานกลางที่มีอยู่ทั้งหมด และในช่วงเวลา 15 ปีข้างหน้า อิหร่านจะสกัดแต่ยูเรเนียมที่มีความบริสุทธิ์ไม่เกิน 3.
ภายหลังเหตุการณ์ อิหร่านได้ออกมาระบุทันทีว่าจะตอบโต้สหรัฐฯ กลับแน่นอน โดยที่ปรึกษาของผู้นำสูงสุดอิหร่านได้ออกมาบอกว่า เป้าหมายที่อิหร่านจะโจมตีกลับ จะเป็นเป้าหมายทางการทหาร ในขณะเดียวกันก็ได้ประกาศว่า อิหร่านจะไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงนิวเคลียร์ในปี 2015 อีกต่อไป และจะเดินหน้าพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์อย่างเต็มตัว 24. ส่วนทางด้านอิรัก ที่เป็นพันธมิตรกับทั้งสหรัฐฯ และอิหร่าน ล่าสุดรัฐสภาของอิรักได้ผ่านร่างกฎหมายที่จะส่งผลเป็นการขับไล่กองกำลังทหารต่างชาติออกจากประเทศทั้งหมด นั่นหมายความว่าหากกฎหมายนี้บังคับใช้ สหรัฐฯ ก็จำเป็นต้องถอนกองกำลังทั้งหมดในอิรักกว่า 5, 200 นายออกจากประเทศ ซึ่งอาจส่งผลให้การต่อสู้กับกลุ่มก่อการร้าย ISIS ในอิรักเป็นไปได้ยากขึ้น และอาจทำให้กลุ่ม ISIS กลับมาแข็งแกร่งอีกครั้งได้ นักวิเคราะห์หลายคนมองว่า สุดท้ายถ้าอิรักจำเป็นต้องเลือกระหว่างสหรัฐฯ และอิหร่าน สุดท้ายอิรักก็คงต้องเลือกเป็นพันธมิตรกับอิหร่านมากกว่า เพราะถึงอย่างไรก็เป็นประเทศเพื่อนบ้านที่พรมแดนติดกันและต้องอยู่กันไปอีกนาน ในขณะที่สหรัฐฯ อาจจะถอนตัวหรือหยุดให้การสนับสนุนอิรักเมื่อไหร่ก็ได้ 25.
ชาวอิหร่าน แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า
หลังจากพระเจ้าชาห์ถูกขับออกจากตำแหน่งในปี 1979 เขาได้เดินทางไปรักษาโรคมะเร็งที่สหรัฐฯ ในขณะที่ทางการอิหร่านได้ขอให้สหรัฐฯ ส่งตัวพระเจ้าชาห์กลับประเทศ เพื่อขึ้นศาลจากข้อครหาเกี่ยวกับอาชญากรรมที่เขาทำในช่วงครองอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ตำรวจลับในปฏิบัติการปิดปากผู้เห็นต่าง แต่ทางการสหรัฐฯ ปฏิเสธไม่ส่งตัวพระเจ้าชาห์กลับไปให้อิหร่าน 12. ความไม่พอใจของชาวอิหร่านที่มีอยู่เป็นทุนเดิมต่อสหรัฐฯ ที่มองว่าเป็นทั้งผู้อยู่เบื้องหลังการรัฐประหารในอิหร่านในทศวรรษ 1950 รวมถึงความพยายามของสหรัฐฯ ที่พยายามบั่นทอนกองกำลังปฏิวัติอิหร่านในการขับไล่พระเจ้าชาห์ ทำให้ในเดือน พ.
อังกฤษ พบ อิหร่าน: ลิงค์ถ่ายทอดสด ฟุตบอลโลก 2022, วัน-เวลา
อังกฤษ vs อิหร่าน ผลบอลสด Live Score 21/11/2022
คอนเฟิร์ม!อังกฤษ ขาดสองแข้งดวลเกือก อิหร่าน - SIAMSPORT